พระเครื่องทั้งหมด 495 ชิ้น
     ตะกร้าพระเครื่อง : (0) 
   ประเภทพระเครื่อง
พระสมเด็จ (43) พระเนื้อดิน (28) พระเนื้อชิน (4) พระเนื้อผง (0) พระกริ่ง (0) พระรูปหล่อ (19) พระเหรียญ (70) เหรียญหล่อ (41) พระปิดตา (0) พระบูชา (0) เครื่องราง (28)
   เมนูช่วยเหลือ
วิธีการชำระเงิน
เงื่อนไขการรับประกัน
ติดต่อเรา
   สถิติสินค้า
พระเครื่องทั้งหมด 495 ชิ้น
พระเครื่องถูกจองแล้ว 0 ชิ้น
พระเครื่องบูชาแล้ว 0 ชิ้น
พระเครื่องคงเหลือ 233 ชิ้น
   บทความน่าอ่าน
ถูกจริงแท้ แท้หรือเปล่า?
ต่อพระน่าเกลียดไปมั้ย?
ไม่มีกล้องห้ามดู ไปไกล ๆ
ทำไมไม่รับ? พกง.เก็บเงินปลายทาง
  รับข่าวสารผ่าน SMS
หมายเลขโทรศัพท์

สมัคร ยกเลิกการรับข่าว
  ประวัติผู้สร้างพระเครื่อง
หลวงพ่อทองสุข วัดสะพานสูง
หลวงพ่อปี้ วัดด่านลานหอย
หลวงปู่โถม วัดธรรมปัญญาราม
หลวงปู่สวน วัดนาอุดม
หลวงปู่หมุน วัดเขาแดงตะวันตก
หลวงปู่กรับ วัดโกรกกราก
หลวงพ่อหน่าย วัดบ้านแจ้ง
หลวงพ่อเชิญ วัดโคกทอง
สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)
หลวงพ่อนก วัดสังกะสี
หลวงพ่อแก้ว วัดพวงมาลัย
ครูบาหล้า วัดป่าตึง
พระอาจารย์วัน วัดถ้ำอภัยดำรงธรรม
พระอาจารย์ปาล วัดเขาอ้อ
หลวงพ่ออั้น วัดพระญาติ
หลวงพ่อผ่อง วัดคูหาสวรรค์
หลวงพ่อหร่ำ วัดกร่าง
หลวงพ่ออ้น วัดบางจาก
หลวงพ่อจวน วัดหนองสุ่ม
หลวงปู่ครีพ วัดสมถะ
ประวัติผู้สร้างทั้งหมด

พระเครื่อง ศักดิ์ตลิ่งชัน


พระเครื่อง อีซี่อมูเล็ต


พระเครื่องทามอมูเล็ตดอทคอม

มาดูพระดอทคอม

พระหลวงตา

ตือ (เจริญ) ท่าพระจันทร์

แป๊ะ บางกะพร้อม

 
ค้นหาประวัติคณาจารย์ผู้สร้างพระเครื่อง
หลวงปู่รอด วัดทุ่งศรีเมือง / ผู้เข้าชม : 4649 คน
ข้อมูลประวัติ หลวงปู่รอด วัดทุ่งศรีเมือง อุบลราชธานี (ท่านพระครูดีโลด)

          พระครูวิโรจน์รัตโนบล หรือที่รู้จักกันในนาม หลวงปู่รอด วัดทุ่งศรีเมือง จ.อุบลราชธานี มีนามเดิมว่า บุญรอด นามสกุล สมจิต เป็นบุตรชายของยายมุดดี นางกา สมจิต เกิดที่หมู่ที่ 1 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราช ธานี บางท่านเข้าใจว่า ต.คำไฮใหญ่ อ.เมืองอุบลราชธานี เพราะยังมีหลานซึ่งเป็นลูกน้องชายตั้งหลักฐานอยู่ที่นั่น ตามหลักฐานประวัติของท่านก็พอเข้าใจได้ว่า ญาติพี่น้องคงอพยพไปอยู่บ้านคำไฮใหญ่ทีหลัง

          หลวงปู่รอด ชาวเมืองอุบลราชธานีรวมทั้งคนทั่วๆ ไปเรียกท่านอีกชื่อหนึ่งว่า "ท่านพระครูดีโลด หรือหลวงปู่ดีโลด" เพราะท่านจะพูดอะไรกับใครๆ หรือฟังใครพูด เวลาเขาเหล่านั้นพูดจบหรือเล่าจบ ท่านมักรับคำของเขาว่า "ดีๆ" ใครจะพูดร้ายหรือพูดดีกับท่าน ท่านก็จะพูดว่า "ดีๆ" เวลามีอารมณ์ชนิดไหนก็ตาม ท่านก่อนจะพูดอะไรก็ชอบเปล่งอุทานว่า "ดีๆ" เขาจึงถวายนามพิเศษว่า "หลวงปู่ดีโลด หรือท่านดีโลด" คำว่าโลดเป็นคำพื้นเมือง แปลว่า "เลย" คำว่าดีโลดก็หมายความว่า "ดีเลย" นั่นเอง

          "วัดทุ่งศรีเมือง" นั้นอาศัยรายละเอียดจากหลักฐานต่างๆ พอสันนิษฐานได้ว่า น่าจะสร้างในตอนกลางรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ในราวพุทธศักราช 2385 จุลศักราช 1158 มีพระปทุมราชวงศา พระอุปฮาด (กู่ทอง สุวรรณกูฏ) เป็นเจ้าเมืองจังหวัดอุบลราชธานี ในขณะนั้นนับเป็นเวลามาจนบัดนี้ได้ 128 ปี ในระยะ 128 ปีนี้ เพื่อสะดวกในการศึกษาประวัติของวัดซึ่งได้แบ่งออกเป็น 4 ยุค ใน 4 ยุคนี้ ได้มีพระเถระเป็นประ มุขปกครองถึง 3 รูปด้วยกันคือ ยุคที่ 1 ยุคก่อสร้างมีท่านเจ้าคุณพระอริยวงศาจารย์ (ท่านเจ้าสุ้ย) และญาติครูช่างเป็นผู้ปกครอง

          ยุคที่ 2 คือยุคซ่อมแซมและสร้างศาลาการเปรียญ มีท่านพระครู วิโรจน์รัตโนบล หรือหลวงปู่รอดนั่นเอง เป็นเจ้าอาวาสปกครองในยุคที่ 1 สำหรับยุคก่อสร้างท่านเจ้าคุณพระอริยวงศาจารย์ (ท่านเจ้าสุ้ย) ตามประวัติหลักฐานต่างๆ ได้ความว่าท่านเจ้าคุณองค์นี้เป็นผู้สร้างวัดทุ่งศรีเมือง ท่านเป็นชาวจังหวัดอุบลราชธานีโดยแท้ ถือกำเนิดที่บ้านกวางดำ ต.เขื่องใน อ.เขื่องใน นัยว่าท่านเป็นคนผิวขาวรูปร่างสง่างาม เมื่อได้บรรพชาอุปสมบทในพระพุทธศาสนาแล้ว ได้ไปพำนักศึกษาปริยัติธรรมอยู่ที่สำนักวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร พระนคร ในสำนักสมเด็จพระพุฒาจารย์ (ขุน) เจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร

          หลวงปู่รอด ได้มาอยู่ที่วัดทุ่งศรีเมือง ในตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส และต่อมาได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรที่ "พระครูวิโรจน์รัตโนบล" ในรัชกาลที่ 5 และได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธานี อีกด้วย

          พระครูวิโรจน์รัตโนบล ในเวลาที่ท่านปกครองวัดอยู่นั้นได้สร้างกุฏิขึ้นหลายหลัง ซึ่งยังปรากฏอยู่จนกระทั่งบัดนี้ในขณะนั้นหอพระพุทธ บาทและหอไตรได้ชำรุดทรุดโทรมลงมาบ้างแล้ว ท่านจึงได้ชักชวนบอกบุญแก่ทายาทายิกา และผู้มีศรัทธาทั้งหลาย ให้พากันช่วยบริจาคทรัพย์เพื่อซ่อมแซมหอพระพุทธบาทและหอไตรอีก แต่ก็ไม่ได้รื้อของเก่าจนเสียรูปเพียงแต่เปลี่ยนแปลงถ่ายถอนบางสิ่งบางอย่าง เท่านั้น

          ส่วนแบบรูปทรงและลักษณะยังคงเป็นของเก่าอยู่ในสภาพเดิมจึง เป็นอันว่า ในสมัยท่านพระครูวิโรจน์รัตโนบล หอพระพุทธบาทและหอไตรได้ซ่อมมาแล้วครั้งหนึ่ง นับได้ว่ายุคนี้เป็นยุคที่วัดทุ่งศรีเมืองเจริญรุ่งเรืองเต็มที่ เพราะเหตุที่ หลวงปู่รอดท่านเป็นที่เคารพนับถือของประชาชนชาวเมืองอุบลราชธานี และจังหวัดใกล้เคียงดังกล่าวมาแล้วนั้น เมื่อเป็นดังนี้วัดทุ่งศรีเมืองจึงเป็นที่เคารพนับถือและเจริญศรัทธาของพุทธ ศาสนิกชนทั้งหลายโดยทั่วไป

          วัตถุมงคลของท่านที่สร้างได้รับความนิยม อย่างมาก อาทิ เหรียญหลวงปู่รอด วัดทุ่งศรีเมือง รุ่นแรก ปี 2483 พิมพ์ใหญ่ แบบหลังเรียบมีจาร, เหรียญหลวงปู่รอด พิมพ์นิยม รุ่นแรก ปี 2483, เหรียญหลวงปู่รอด รุ่นแรก ปี 2483 พิมพ์ต้อ อีกทั้งยังมี รุ่นสอง เหรียญแบบรูปไข่ เหรียญแบบดอกจิก รุ่นสาม เหรียญปี 2494 และเสื้อยันต์หลวงปู่รอด ปี 2485 ก็ได้รับความนิยมเหมือนกันทั้งในจังหวัดอุบลฯ และจังหวัดใกล้เคียง

          พุทธคุณโดดเด่นในเรื่องการเดินทางแคล้วคลาดปลอดภัย อยู่ยงคงกระพันชาตรี เมตตามหานิยม


** อนุญาติให้ข้อมูลทั้งหมดในเว็บไซต์ ทรูอมูเล็ต ดอทคอม สามารถ อ่าน คัดลอก ตัดแปลง ได้ตามที่ใจท่านต้องการ เพื่อความรู้และการศึกษา โดยไม่ต้องขออนุญาติ ข้อมูลทั้งหมดได้มาจากสื่อสาธารณะที่มีประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ไม่ได้เสียเงินสักบาท และไม่ได้ทำเพื่อผลประโยชน์ทางการค้า ให้คนเข้าเว็บเยอะ ๆ จะได้ขายของได้เยอะ ๆ มีโฆษณามาลงเยอะ ๆ และอีกอย่างหนึ่งเพราะว่าตายไปผมก็เอาไม่ได้ ถ้าหวงนักผมขอแนะนำว่าอย่านำมาลง ให้ปิดเว็บทิ้งไปเลยจะดีกว่าอย่าทำเลย
 
พระเครื่องอื่น ๆ
ไม่พบพระเครื่องในฐานข้อมูล หมวดหมู่นี้
 
   ตะกร้าพระเครื่อง

ดูตะกร้าพระเครื่อง
แจ้งการชำระเงิน
ตรวจสอบวันจัดส่ง
สถานะการส่งพระเครื่อง

   พระเครื่องแนะนำ

หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า(45) ตะกรุดจันทร์เพ็ญแกนตะกั่วยาว3นิ้วถักเชือกลงรักสภาพสวยสมบรูณ์จ.ชัยนาท 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก(1-85) เหรียญรูปไข่เล็กหลังยันต์พุท-ธะ-สัง-มิเนื้อเงิน(หายาก)พศ2490จ.อยุธยา 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อทวด วัดช้างให้ ปัตตานี (2-64) เหรียญเม็ดแตงบล็อกหน้าผาก3เส้นหนังสือเลยหูเนื้ออัลปาก้าชุบนิเกิลปี06 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อโต กรุวัดบางกระทิง(8-19) พิมพ์มารวิชัยเนื้อดินเผาพระส่งประกวดติดโบว์รังวัลที่3ที่ตั้งฮั่วเส้งธนบุรีจ.อยุธยา 

โทรถาม บาท


พระคง กรุวัดคงฤาษี จลำพูน(2-27) เนื้อดินเนื้อหาโซนเหลืองพิกุลแห้งฟอร์มพระใบโพธิ์เด้งคมชัดลึกชัดเจนดีครับ 

โทรถาม บาท


ท่านเจ้าคุณศรี-สนธิ์ วัดสุทัศน์ฯ(5-29) เหรียญหล่อพระประจำวันพิมพ์นาคปรก(วันเสาร์)เนื้อทองผสมจ.กทม 

โทรถาม บาท


พระเนื้อผงวัดท้ายตลาด(4-21) พิมพ์พุทธกวักเนื้อผงผสมใบลานกลุ่มพิมพ์นิยมมาพร้อมกับคราบไขกรุ 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อทองสุข วัดสะพานสูง(1-22) พระปิดตาพิมพ์ตะพาบเข่ากว้าง-สะดือจุ่นเนื้อผงจุ่มรักยุคต้นพศ2495จ.นนทบุรี 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อเนียม วัดน้อย จ.สุพรรณฯ ลูกอมเนื้อเมฆพัดเกจิอาจารย์ยุคเก่ายุคเล่นแร่แปรธาตุเคล็ด"กลับร้ายกลายเป็นดี" 

โทรถาม บาท


พระพุทธชินราชอินโดจีนจ.กทม (5-33) พิมพ์ต้อบัวเล็บช้าง-ทรงเครื่องเนื้อทองผสมฟอร์มดีเทหล่อล่ำบึกมีโค๊ตจ.กทม 

โทรถาม บาท


หลวงปู่เอี่ยม วัดสะพานสูง(6-25) พิมพ์เสมาหลังหลุมบล็อกที่5เนื้อทองฝาบาตรหลังหลุมพศ2516จ.นนทบุรี 

โทรถาม? บาท


หลวงพ่อหอม วัดชางหมาก จ.ระยอง(27) สิงห์งาแกะศิลป์ปากนกแก้วลิ้นสาริกายุคตันแกะ2ขวัญเลข๑ไทย 

โทรถาม บาท


พระขุนแผน วัดบ้านกร่าง(2-320) พลายคู่ตัดเดียวหน้ามงคลกลางฟอร์มพระดีมากหน้าตาติดชัดจ.สุพรรณบุรี 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อคำ วัดโพธิ์ปล้ำ อ่างทอง (1-39) เหรียญหล่อสมเด็จมีหูพิมพ์แหลมเนื้อทองผสมติดที่3งานศูนย์ราชการกทม 

โทรถาม? บาท


หลวงพ่อโบ้ย วัดมะนาว (4-39) เหรียญหล่อนาคปรก5เนื้อทองผสมติดรังวัลที่2ศูนย์ราชการงานของสมาคมฯ 

โทรถาม? บาท


พระเครื่องแนะนำทั้งหมด
   เปิดโลกพระเครื่อง
เปิดโลกสมเด็จ
เปิดโลกพระกรุ
ทำเนียบสมเด็จพระสังฆราชไทย
ตำนานพระพุทธรูป
หลักการดูพระเบื้องต้น
รายนานเกจิอาจารย์
อ่านบทความทั้งหมด