พระเครื่องทั้งหมด 495 ชิ้น
     ตะกร้าพระเครื่อง : (0) 
   ประเภทพระเครื่อง
พระสมเด็จ (43) พระเนื้อดิน (28) พระเนื้อชิน (4) พระเนื้อผง (0) พระกริ่ง (0) พระรูปหล่อ (19) พระเหรียญ (70) เหรียญหล่อ (41) พระปิดตา (0) พระบูชา (0) เครื่องราง (28)
   เมนูช่วยเหลือ
วิธีการชำระเงิน
เงื่อนไขการรับประกัน
ติดต่อเรา
   สถิติสินค้า
พระเครื่องทั้งหมด 495 ชิ้น
พระเครื่องถูกจองแล้ว 0 ชิ้น
พระเครื่องบูชาแล้ว 0 ชิ้น
พระเครื่องคงเหลือ 233 ชิ้น
   บทความน่าอ่าน
ถูกจริงแท้ แท้หรือเปล่า?
ต่อพระน่าเกลียดไปมั้ย?
ไม่มีกล้องห้ามดู ไปไกล ๆ
ทำไมไม่รับ? พกง.เก็บเงินปลายทาง
  รับข่าวสารผ่าน SMS
หมายเลขโทรศัพท์

สมัคร ยกเลิกการรับข่าว
  ประวัติผู้สร้างพระเครื่อง
หลวงพ่อทองสุข วัดสะพานสูง
หลวงพ่อปี้ วัดด่านลานหอย
หลวงปู่โถม วัดธรรมปัญญาราม
หลวงปู่สวน วัดนาอุดม
หลวงปู่หมุน วัดเขาแดงตะวันตก
หลวงปู่กรับ วัดโกรกกราก
หลวงพ่อหน่าย วัดบ้านแจ้ง
หลวงพ่อเชิญ วัดโคกทอง
สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)
หลวงพ่อนก วัดสังกะสี
หลวงพ่อแก้ว วัดพวงมาลัย
ครูบาหล้า วัดป่าตึง
พระอาจารย์วัน วัดถ้ำอภัยดำรงธรรม
พระอาจารย์ปาล วัดเขาอ้อ
หลวงพ่ออั้น วัดพระญาติ
หลวงพ่อผ่อง วัดคูหาสวรรค์
หลวงพ่อหร่ำ วัดกร่าง
หลวงพ่ออ้น วัดบางจาก
หลวงพ่อจวน วัดหนองสุ่ม
หลวงปู่ครีพ วัดสมถะ
ประวัติผู้สร้างทั้งหมด

พระเครื่อง ศักดิ์ตลิ่งชัน


พระเครื่อง อีซี่อมูเล็ต


พระเครื่องทามอมูเล็ตดอทคอม

มาดูพระดอทคอม

พระหลวงตา

ตือ (เจริญ) ท่าพระจันทร์

แป๊ะ บางกะพร้อม

 
ค้นหาประวัติคณาจารย์ผู้สร้างพระเครื่อง
หลวงปู่ชอบ วัดป่าสัมมนานุสรณ์ / ผู้เข้าชม : 3848 คน
ข้อมูลประวัติ หลวงปู่ชอบ ฐานสโม วัดป่าสัมมนานุสรณ์ เลย

เกิด                  วันพุธ เดือน 3 ปีฉลู  พ.ศ.2444 ณ บ้านโคกมน จ.เลย  นามเดิม บ่อ  ต่อมาเปลี่ยนเป็น ชอบ  เป็นบุตรของนายมอ  นางพิลา  แก้วสุวรรณ

บรรพชา             ระยะแรกบวชเป็นผ้าขาวก่อน  พรรพชาเป็นสามเรณเมื่ออายุย่าง 23

อุปสมบท            อายุ 24 ปี ณ วัดส่างโคก (วัดเสมียนมาราม) พ.ศ.2467

มรณภาพ             -

ชาติกำเนิดและชีวิตปฐมวัย

          พระคุณเจ้าหลวงปู่ชอบ ฐานสโม มีชาติกำเนินในสกุลแก้วสุวรรณ เดิมชื่อ บ่อ เกิดเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2444 ตรงกับวันพุธขึ้น 5 ค่ำ เดือน 3 ปีฉลู ณ บ้านโคกมน ตำบลผาน้อย อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย

          โยมบิดาชื่อ มอ โยมมารดาชื่อ พิลา ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 4 คน เป็นชาย 2 คน เป็นหญิง 2 คน มีชื่อเรียกกันตามลำดับคือ

1. ตัวท่าน บ่อ แก้วสุวรรณ

2. น้องสาว ชื่อ พา แก้วสุวรรณ

3. น้องสาว ชื่อ แดง แก้วสุวรรณ

4. น้องชายสุดท้อง ชื่อ สิน แก้วสุวรรณ

ทั้งน้องสาวและน้องชาย รวม 3 คนนี้ปัจจุบันถึงแก่กรรมไปตามกาลเวลาหมดแล้ว

          โยมบิดามารดาเล่าให้ท่านฟังว่าบรรพบุรุษต้นตระกูลของท่านนั้น เดิมมีถิ่นฐานบ้านเรือนอยู่ที่ อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย มีอาชีพหลักคือการทำนา แต่โดยที่พื้นที่ เป็นภูเขาเป็นส่วนใหญ่ การทำนาต้องอาศัยไหล่เขา ยกเดินเป็นขั้นบันไดเป็นชั้นๆ ไปจึงจะปลูกข้าวได้ แม้จะลงแรงทำงานหาเลี้ยงกันอย่างไม่ยอมเหนื่อย ต้องทำไร่ตามดอย เพิ่มเติม แต่ก็ไม่ค่อยพอปากพอท้อง โดยเฉพาะบางปีถ้าฝนแห้งแล้ง ข้าวไม่เป็นผล พืชล้มตาย ก็อดอยากแร้นแค้น จึงได้คิดโยกย้ายไปแสวงหาถิ่นทำกินใหม่ ซึ่งจะเป็นที่ราบลุ่ม อันไม่เป็นที่ดอยที่เขาเช่นแต่ก่อน

          ตระกูลของท่านพากันอพยพหนีความอัตคัดฝืดเคือง มาหภูมิสำเนาใหม่ ผ่านหุบเหวภูเขาสูงของอำเภอด่านซ้าย ผ่านป่าดงพงทึบของภูเรือ ภูฟ้า ภูหลวง ได้มาพบชัยภูมิใหม่เหมาะ คือที่บ้านโคกมน ตำบลผาน้อย อำเภอวังสะพุง ยังเป็นที่รกร้างว่างเปล่าใกล้หุบห้วย เหมาะแก่การเพาะปลูก จึงช่วยกันหักร้างถางป่า ออกเป็นไร่นาสาโท คงยึดอาชีพหลักคือการทำนาเช่นเดิม

          ณ ที่บ้านโคกมนนี้เอง ที่เด็กชายบ่อ บุตรชายคนหัวปีของสกุลแก้วสุวรรณได้ถือกิเนิดมาเป็นประดุจพญาช้างเผือกที่มีกำเนิดจากกลางไพรพฤกษ์ ทำให้ชื่อป่าที่เกิด ของพญาช้างเผือกนั้น เป็นที่รู้จักขจรขจายไปทั่วสารทิศ...ฉันใด หลวงปู่ก็ทำให้ชื่อ "หมู่บ้านโคกมน" บ้านที่เกิดของท่านเป็นที่รู้จัก เป็นที่จาริกแสวงบุญ ของบรรดาชาวพุทธ ทั่วประเทศ ... ฉันนั้น

          ชีวิตตอนเป็นเด็กของท่าน นับว่ามีภาระเกินวัยด้วยเกิดมาเป็นบุตรหัวปี ต้องมีหน้าที่ช่วยบิดามารดา ทำการงานในเรือกสวนไร่นา พร้อมทั้งต้องทำหน้าที่พี่ใหญ่ ดูแลน้องๆ หญิงชายทั้งสามด้วย

          บ้านโคกมนในปัจจุบันนี้ แม้ว่าผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้านจะคุยให้เราฟังว่า มีความเจริญขึ้นกว่าเมื่อเจ็ดสิบปีก่อนอย่างหาที่เปรียบมิได้ แต่ในสายตาของเราชาวกรุง ก็ยังเห็นคงสภาพเป็นบ้านป่าชนบทอยู่มาก ดังนั้นหากจะนึกย้อนกลับไป สมัยที่ท่านยังเป็นเด็กเล็กอยู่ ณ ที่นั้น บ้านเกิดของท่าน ก็คงมีลักษณะเป็นบ้านป่าเขา ที่น่าเห็นใจอย่างยิ่ง สมาชิกทุกคนในครอบครัว ต้องช่วยกันตัวเป็นเกลียว โดยไม่เลือกว่าผู้ใหญ่หรือเด็ก ระหว่างที่พวกผู้ใหญ่ต้องไถ หว่านปักกล้า ดำนา เด็กๆ ก็ต้องเลี้ยงควาย คอยส่งข้าวปลาอาหาร เด็กโตหรือลูกหัวปีอย่างท่าน ก็ต้องช่วยในการไถ ปักกล้า ดำนาด้วยขณะเดียวกันก็ต้องคอยดูแลน้องๆ กลับจากทำนา ก็ต้องช่วยกันหาผักหญ้า หน่อหวาย หน่อโจด หน่อบง หน่อไม้ รู้จักว่ายอดอ่อนของต้นไม่ชนิดใดในป่าในท้องนาควรจะนำมาเป็นอาหารได้ เช่น ยอดติ้วใบหมากเหม้า ผ้าดระโดน...

          โดยมากเด็กชายบ่อจะพอใจช่วยบิดามารดา ทางด้านเรือกสวนไร่นามากกว่ากล่าวคือ จะช่วยเป็นภาระทางด้านเลี้ยงควาย ไถนา เกี่ยวข้าว หาผักหญ้า แต่ด้านการหาอาหารที่ต้องเกี่ยวเนื่องด้วยชีวิตผู้อื่น เช่น การจับปู ปลา หากบ เขียด มาเป็นอาหารประจำวันอย่างเด็กอื่นๆ นั้น ท่านไม่เต็มใจจะกระทำเลย ยิ่งการเล่นยิงนก กระรอก กระแต ที่เด็กต่างๆ เห็นเป็นของสนุกสนานนั้น ท่านจะไม่ร่วมวงเล่นด้วยอย่างเด็ดขาดพูดง่ายๆ ท่านไม่มีนิสัยทาง "ปาณาติบาต" มาแต่เด็กนั่นเอง

วัตถุมงคลที่ได้รับความนิยม

          หลวงปู่ชอบ  เป็นพระกัมมัฎฐาน   สายพระอาจารย์มั่น  เป็นกำลังสำคัญในการเผยแพร่พระศาสนา  กระทั่งท่านมรณภาพ สำหรับวัตถุมงคลลูกศิษย์ที่เคารพเลื่อมใสศรัทธาสร้างขึ้นและนำมาให้ท่านอธษฐานจิตให้ มีหลายรุ่น เช่น

          รูปเหมือนหล่อ เนื้อนวโลหะ ปี พ.ศ.2517 ที่ระลึกในงานผ้าป่าสามัคคี  หลวงปู่ชอบ ปลุกเสกเป็นกรณีพิเศษ ก่อนนำเข้าพิธีพุทธาภิเษกอีกครั้ง ที่วัดสิริสาละวัน  จ.อุดรธานี เมื่อ 28 ก.พ.17          

          เหรียญรุ่นแรก พ.ศ.2514 (รุ่นโบสถ์น้ำ) สร้างจำนวน 4,000 เหรียญ

          เหรียญรุ่นสอง  รุ่นพิเศษ (สมโภชศาลา) จำนวน 10,000 เหรียญ

          เหรียญรุ่นสาม  รุ่นพิเศษ 2  จำนวนไม่เกิน 10,000 เหรียญ

          เหรียญรุ่นสี่  เป็นเหรียญรูปไข่  สร้างปี พ.ศ. 2517

พุทธคุณที่เล่าสืบทอดกันมา

          พุทธคุณในวัตถุมงคลของท่านไม่ว่าเก่า-ใหม่ เด่นทางเมตตามหานิยมเป็นหลัก 
 

** อนุญาติให้ข้อมูลทั้งหมดในเว็บไซต์ ทรูอมูเล็ต ดอทคอม สามารถ อ่าน คัดลอก ตัดแปลง ได้ตามที่ใจท่านต้องการ เพื่อความรู้และการศึกษา โดยไม่ต้องขออนุญาติ ข้อมูลทั้งหมดได้มาจากสื่อสาธารณะที่มีประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ไม่ได้เสียเงินสักบาท และไม่ได้ทำเพื่อผลประโยชน์ทางการค้า ให้คนเข้าเว็บเยอะ ๆ จะได้ขายของได้เยอะ ๆ มีโฆษณามาลงเยอะ ๆ และอีกอย่างหนึ่งเพราะว่าตายไปผมก็เอาไม่ได้ ถ้าหวงนักผมขอแนะนำว่าอย่านำมาลง ให้ปิดเว็บทิ้งไปเลยจะดีกว่าอย่าทำเลย
 
พระเครื่องอื่น ๆ
ไม่พบพระเครื่องในฐานข้อมูล หมวดหมู่นี้
 
   ตะกร้าพระเครื่อง

ดูตะกร้าพระเครื่อง
แจ้งการชำระเงิน
ตรวจสอบวันจัดส่ง
สถานะการส่งพระเครื่อง

   พระเครื่องแนะนำ

หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า(45) ตะกรุดจันทร์เพ็ญแกนตะกั่วยาว3นิ้วถักเชือกลงรักสภาพสวยสมบรูณ์จ.ชัยนาท 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก(1-85) เหรียญรูปไข่เล็กหลังยันต์พุท-ธะ-สัง-มิเนื้อเงิน(หายาก)พศ2490จ.อยุธยา 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อทวด วัดช้างให้ ปัตตานี (2-64) เหรียญเม็ดแตงบล็อกหน้าผาก3เส้นหนังสือเลยหูเนื้ออัลปาก้าชุบนิเกิลปี06 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อโต กรุวัดบางกระทิง(8-19) พิมพ์มารวิชัยเนื้อดินเผาพระส่งประกวดติดโบว์รังวัลที่3ที่ตั้งฮั่วเส้งธนบุรีจ.อยุธยา 

โทรถาม บาท


พระคง กรุวัดคงฤาษี จลำพูน(2-27) เนื้อดินเนื้อหาโซนเหลืองพิกุลแห้งฟอร์มพระใบโพธิ์เด้งคมชัดลึกชัดเจนดีครับ 

โทรถาม บาท


ท่านเจ้าคุณศรี-สนธิ์ วัดสุทัศน์ฯ(5-29) เหรียญหล่อพระประจำวันพิมพ์นาคปรก(วันเสาร์)เนื้อทองผสมจ.กทม 

โทรถาม บาท


พระเนื้อผงวัดท้ายตลาด(4-21) พิมพ์พุทธกวักเนื้อผงผสมใบลานกลุ่มพิมพ์นิยมมาพร้อมกับคราบไขกรุ 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อทองสุข วัดสะพานสูง(1-22) พระปิดตาพิมพ์ตะพาบเข่ากว้าง-สะดือจุ่นเนื้อผงจุ่มรักยุคต้นพศ2495จ.นนทบุรี 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อเนียม วัดน้อย จ.สุพรรณฯ ลูกอมเนื้อเมฆพัดเกจิอาจารย์ยุคเก่ายุคเล่นแร่แปรธาตุเคล็ด"กลับร้ายกลายเป็นดี" 

โทรถาม บาท


พระพุทธชินราชอินโดจีนจ.กทม (5-33) พิมพ์ต้อบัวเล็บช้าง-ทรงเครื่องเนื้อทองผสมฟอร์มดีเทหล่อล่ำบึกมีโค๊ตจ.กทม 

โทรถาม บาท


หลวงปู่เอี่ยม วัดสะพานสูง(6-25) พิมพ์เสมาหลังหลุมบล็อกที่5เนื้อทองฝาบาตรหลังหลุมพศ2516จ.นนทบุรี 

โทรถาม? บาท


หลวงพ่อหอม วัดชางหมาก จ.ระยอง(27) สิงห์งาแกะศิลป์ปากนกแก้วลิ้นสาริกายุคตันแกะ2ขวัญเลข๑ไทย 

โทรถาม บาท


พระขุนแผน วัดบ้านกร่าง(2-320) พลายคู่ตัดเดียวหน้ามงคลกลางฟอร์มพระดีมากหน้าตาติดชัดจ.สุพรรณบุรี 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อคำ วัดโพธิ์ปล้ำ อ่างทอง (1-39) เหรียญหล่อสมเด็จมีหูพิมพ์แหลมเนื้อทองผสมติดที่3งานศูนย์ราชการกทม 

โทรถาม? บาท


หลวงพ่อโบ้ย วัดมะนาว (4-39) เหรียญหล่อนาคปรก5เนื้อทองผสมติดรังวัลที่2ศูนย์ราชการงานของสมาคมฯ 

โทรถาม? บาท


พระเครื่องแนะนำทั้งหมด
   เปิดโลกพระเครื่อง
เปิดโลกสมเด็จ
เปิดโลกพระกรุ
ทำเนียบสมเด็จพระสังฆราชไทย
ตำนานพระพุทธรูป
หลักการดูพระเบื้องต้น
รายนานเกจิอาจารย์
อ่านบทความทั้งหมด